วันพุธที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 15

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ครูผู้สอน อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วันที่ 2 ธันวาคม 2557 ครั้งที่7กลุ่ม 103
เวลาเรียน   8:30 - 12.20 น.

อาจารย์ให้แต่ละกลุ่ม ออกแบบใบสัมพันธ์บ้านโรงเรียนโดยประชาสัมพันธ์ให้ความรู้กับผูเปกครองเกี่ยวกับเนื้อหาเด็กเรียน


กลุ่มของดิฉัน ประชาสะมพันธ์เรื่องหน่วยกล้วย







การนำไปประยุกต์ใช้


จากการออกแบบใบประชาสัมพันธ์บ้านโรงเรียน ทำให้รู้ถึงเมคนิคในการเขียนให้ถูกต้องเหมาะสมและน่าสนใจเพื่อที่จะสามารถนำมาเป็นแบบอย่างการทำแผ่นพับของตนเองในการประกอบอาชีพครูเพื่อสามารถส่งข่าวสารจากโรงเรียนถึงผู้ปกครอง




ประเมินตนเอง
- วันนี้ตั้งใจเรียนและแต่งกายเรียบร้อยเพราะวันนี้เป็นการเรียนชั่วโมงสุดทายของวิชานี้


ประเมินเพื่อน
- เพื่อนทุกคนวันนี้ดูตั้งใจเรีนรเป็นพิเศษและทุกคนดูสนุกกับการทำกิจกรรมในการทำข่าวประสานผู้ปกครองต่างคนได้ต่างความคิดและนำความคิดมารวบยอดกัน

ประเมินอาจารย์
- วันนี้เป็นเป็นวันปิด Course ของการเรียนวิชานี้ ตลอดระยะเวลาที่เรียนวิชานี้มาเป็นวิชาถือว่าอย่กพอสมควรแต่เรียนไปเรียนมาสนุกเพราะเราได้ตั้งใจในการฟังในการดูที่เพื่อนและอาจารย์นำเสนอ วิชานี้ทำให้เราได้คิดทำให้เราได้ตอบคำถามอยู่ตลอดเพราะอาารย์มักจะให้นักศึกษามีส่วนรวมในการทำกิจกรรมและจะมีคำถามปลายเปิดอยู่ตลอด บางครั้งที่เราไม่เข้าใจในกิจกรรมหรือรายวิชาเราสามารถดูดดอกเลยว่าอาจารย์เคลียดและอยากให้เราได้รู้และเข้าใจในสิ่งที่อาจารย์สอนวิชานี้ได้ประโยชน์หลานอย่างจนเราสามารถนำไปปรับใช้ในกิจกรรมอื่นหรือรายวิชาอื่นได้อีกทั้งยังนำไปใช้ในการประกอบการสอนได้

บันทึกอนุทินครั้งที่ 14

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ครูผู้สอน อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วันที่ 28 พฤศจิกายน 2557 ครั้งที่7กลุ่ม 103
เวลาเรียน   8:30 - 12.20 น.



 สัปดาห์นี้อาจารย์ได้ให้นักศึกษานำเสนอสื่อวิทยาศาสตร์ของ
ตัวเองหน้าชั้นเรียนเพื่อแยกหมวดหมู่ว่าสื่อของเราอยู่หมวดหมู่ไหนมีทั้งหมด 
4หมวดหมู่คือ หมวดหมู่เสียง หมวดหมู่พลังงาน หมวดหมู่น้ำ หมวดหมู่อากาศ

และทำกิจกรรมน้ำหวานแช่น้ำแข็ง


อุปกรณ์
1.น้ำหวาน
2.น้ำ
3.เกลือ
4.ถุงและหนังยาง
5.หม้อ
6.ช้อนตักน้ำหวาน
7.น้ำแข็ง


ขั้นตอนการทำ
                   1.เทน้ำเปล่าและน้ำแดงผสมกันในภาชนะเทให้ได้ปริมาณที่เท่ากัน


2.นำน้ำหวานที่ผสมกันแล้วตักใส่ถุงให้พอประมาน
แล้วมัดหนังยางที่ปากถุงให้แน่น







3.นำน้ำหวานมาใส่ภาชนะแล้วนำเกล็ดน้ำแข็ง
มาใส่ทับแล้วโรยด้วยเกลือปิดฝาหม้อ





4.เขย่าภาชนะไปมาจนกว่าถุงน้ำแดงจะเปลี่ยน
สถานะจากของเหลวกลายเป็นของแข็ง







การแข็งตัว (Fleezing)คือการน้ำเปลี่ยนสถานะของแข็งเป็นของเหลวซึ่งน้ำจำเป็นต้องถ่ายเทพลังงานภายในออกมาในณูปแฝงความร้อน 80 แครอรี่/กรัม เพื่อลดแรงสั้นสั่นสะเทือนของโมเลกุลเพื่อให้พนธะไฮโดเจนสามารถยึดเหนี่ยวโมเลกุลให้จับตัวกันเป็นโครงสร้างผนึก


กระบวนการเปลี่ยนแปลงสาถนะของสารจากของเหลวกลายเป็นของแข็ง มักเกิดเมื่อของเหลวนั้นสูญเสียหรือเสียพลังงาน ได้แก่ น้ำ เปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง โดนของแข็งนั้น สามารถเปลี่ยนสถานะเป้นของเหลวได้โดยการได้รับพลังงานหรือความร้อน


การนำไปประยุกต์ใช้
1.สามรถนำกิจกรรมที่จัดไปใช้กับจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์สำหรับเด็ฏปฐมวัยได้
2.สามารถนำทักษะการพูดหน้าชั้นเรียนไปใช้ในการนำเสนอรายวิชาอื่นได้
3.สามารถนำทักษะการเป็นผู้ฟังที่ดีในขณะที่มีคนพูด และจดบันทึกจากความสิ่งที่ได้รับฟังเพื่อให้ตนเองเข้าใจ
4.สามารถนำไปจัดกิจจกรมมวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยและนำไปดัดแปลงในรายวิชาอื่นได้




ประเมินตนเอง
- เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายถูกระเบียบ
- ตั้งใจฟังและจดบันทึกในขณะที่เพื่อนออกมานำเสนอ

ประเมินเพื่อน
- เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายถูกระเบียบ
- เพื่อนที่นำเสนอสามารถออกมานำเสนอได้อย่างเข้าใจ สรุปใจความดี
- มีการแสดงความคิดเห็น และตอบคำถามอาจารย์ได้เป็นอย่างดี


ประเมินอาจารย์
- เข้าสอนตรงเวลา แต่กายเรียบร้อย
- อาจารย์จับใจความสำคัญที่นักษาศึกษามออกมานำเสนอได้เป็นอย่างดี
- ในแต่ละครั้งที่เรียน อาจารย์พยายามที่จะอธิบายให้นักศึกษาเข้าใจโดยจะมาการเปิดโอกาสให้ถามตบอดว่าไม่เข้าใจตรงไหน
- อาจารย์ให้คำแนะนำ และจะสรุปให้ทุกครั้งที่ทำกิจกรรม




วันเสาร์ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 13

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ครูผู้สอน อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วันที่ 19 พฤศจิกายน 2557 ครั้งที่7กลุ่ม 103
เวลาเรียน   8:30 - 12.20 น.

กิจกรรมวันนี้
วันนี้อาจารย์เตรีนมอุปกรณ์มาให้ทำขนม Waffle โดยให้นักศึกแบ่งกลุ่มโดยอธิบาขั้นตอนการทำ


อุปกรณ์
1. แป้งสำเร็จรูป
2. ไข่ไก่
3. นมสด
4. เนย
5. น้ำร้อน 
6. แปรงทามาร์การีน
7. ที่ตีแป้ง
8. กระบวยตัก 
9. ภาชนะ
10. เต่าทำขนม Waffle

ขั้นตอนการทำ

1. เทนมครึ่งแก้ว
2. เทนมที่เตรียมใว้ใส่แป้ง
3. ตีนมกับแป้งให้เข้ากัน พอเข้ากันแล้วตีไข่ใส่ลงไป
4. ผสมน้ำเล็กน้อยไม่ให้เหลวเกินไป
5. ใส่เนยที่ตัดเอาไว้
6. เมื่อใส่ส่วนผสมทุกอย่างแล้วก็ตีให้เข้ากันจากนั้นเทใส่ถ้วยที่เตรียมไว้
7. นำมาการ์รีนทาในเครื่องทำ Waffle
8. เมื่อเต่าร้อนก็เทแป้งลงไป
9. รอ 3-4 นาที







เพื่อนนำเสนอแผน  หน่วยดิน

เพลง ดิน
ดิน ดิน ดิน 
ดินมีหลายชิด
ดินร่วน ดินเหนียว ดินทราย    (ซ้ำ)
เด็กลองทายดูซิมีดินอะไร





ประเมินตนเอง
- จากกิจกรรมวันนี้ได้ลงมือทำได้ฝึกคิดสิ่งที่จะได้นำไปสอนเด็กและการวางแผนก่อนทำกิจกรรม Cooking

ประเมินเพื่อน
- เพื่อนทำกิจกรรมอย่างสนุก เพื่อนทุกคนต่างมีความเห็นว่าอยากทำอาหารบ่อยๆ เพราะได้รู้วิธีถึงการำอาหารหลายชนิด

ประเมินอาจารย์
- อาจารย์ชี้แนะและอธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่ควรและไม่ครไปใช้กับเด็ก และข้อควรระวังที่ต้องปรับปรุงแก้ไขในการทำกิจกรรมครั้งนี้



วันอาทิตย์ที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 12

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ครูผู้สอน อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วันที่ 11 พฤศจิกายน 2557 ครั้งที่7กลุ่ม 103
เวลาเรียน   8:30 - 12.20 น.


กิจกรรมวันนี้
 อาจารย์ให้นักศึกษาออกไปนำเสนอแผน มีกลุ่มที่ออกไปนำเสนอการสอนในหน่วยต่างๆ หน่วยสับประรด หน่วยส้ม หน่วยทุเรียน หน่วยมดแดง โดยแต่ละกลุ่มมีเทคนิคการสอนแตกต่างกันไป


1. หน่วยสับประรด




2. หน่วยส้ม





3. หน่วยทุเรียน





4.หน่วยมดแดง





หลังจากเพื่อนนำเสนอแผนของตัวเองเสร็จ ต่อไปเป็นกิจกรรมที่2  เป็นกิจกรรมทำไข่หลุม



กิจกรรม ทำไข่หลุม



อุปกรณ์ทำไข่หลุม

1.ไข่ไก่
2. น้ำปลา  ซอสแม็กกี้
3. ผักหัวหอม
4. แครรอท
5. ปูอัด
6. กระดาษ
7. มีด
8. กรรไกร
9. ข้าว
10. ถ้วย
11. ช้อน
12. ซ้อม
13. กระทะทำไข่หลุม


วิธีการทำไข่หลุม

1.ให้ทุกคนตีไข่ให้แตก1ลูกแล้วตีให้แตกคล้ายไข่เจียว
2.ใส่ผัก ปูอัด แครรอท หัวหอม ข้าว
3.ใช้ซ้อมตีให้เข้ากัน
4.นำไข่ไปใส่หลุมกระทะร้อน
5.รอเวลาพลิกไข่ ไข่จะสุกครึ่งนึง
6.เมื่อพลิกจนสุกนำไข่ใส่ถ้วยที่มีกระดาษรอง
7.รับประทาน







วันเสาร์ที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 11

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ครูผู้สอน อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วันที่ 4 พฤศจิกายน 2557 ครั้งที่7กลุ่ม 103
เวลาเรียน   8:30 - 12.20 น.

กิจกรรมในวันนี้
อาจารย์อธิบายเกี่ยวกับแผนต่อเนื่องจากครั้งที่แล้วแล้วให้จัดเรียงแผนตามหัวข้อดังต่อไปนี้

1.กรอบมาตารฐาน
2.สาระที่ควรเรียนรู้
3.แนวคิด
4.เนื้อหา
5.ประสบการณ์สำคัญ
6.บูรณาการ
7.กิจกรรมหลัก
8.จุดประสงค์

เพื่อนนำเสนอแผน


กลุ่มที่ 1 หน่วยข้าว





กลุ่มที่ 2 หน่วยไข่






กลุ่มที่3 หน่วยกล้วย




กลุ่มที่4 หน่วยกบ




การไปประยุกต์ใช้
1. สามารถสอนได้ตรงตามแผนอย่างถูกต้อง
2.สามารถจัดประสบการร์แต่ละหน่วยอย่างถูกต้อง
3.สามารถจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ได้อย่างหลากหลายและสามรถบูรณาการใรเรื่องต่างๆ
4.สามารถนำการเขียนแผนไปใช้ในการเรียนวิชาอื่นๆได้


ประเมินการเรียนการสอน

ประเมินตนเอง
- เข้าเรียนสาย10นาที แต่งตัวเรียบร้อยตั้งเรียนทำกิจกรรมกับเพื่อนเป็นอย่างดีเตรียมพร้อมกับสิ่งที่ตัวเองต้องออกมาสอนเป็นอย่างดีคือหน่วยกล้วย

ประเมินเพื่อน
- เพื่อนแต่งตัวเรียบร้อยทุกคนเตรียมพร้อมแลัะตื่นเต้นกับการที่ออกมานำเสนอและทำกิจกรรมห้าห้องมากเพื่อนทุกคนร่วมมือกันเป็นอย่างดี

ประเมินอาจารย์
- เข้าสอนตรงเวลา มีเทคนิคการสอนแต่ละอาทิตแตกต่างกันดูน่าสนใจมีคำถามทุกครั้งคพถามที่อาจารย์จะใช้คือคำถามปลายเปิดเพื่อให้นักศึกษาได้คิดได้ตอบได้มีส่วนร่วมและทุกๆครั้งที่ทำกิจกรรมเสร็จอาจารย์ก็จะมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติมทำให้เราได้รู้จักปรับปรุงแก้ไข





วันเสาร์ที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 10

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ครูผู้สอน อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วันที่ 28 ตุลาคม 2557 ครั้งที่7กลุ่ม 103
เวลาเรียน   8:30 - 12.20 น.

กิจกรรมวันนี้
วันนี้อาจารย์มีอุปกรณ์มาเยอะมากเพื่อมาให้นักศึกษาในห้องทพการทดลอง อาจารย์ใช้คำถามว่า สิ่งที่ควรเรียรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
1.กระบวนการเรียนรู้ทางวิทาศาสตร์
2.แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
- เปลี่ยนแปลง
- แตกต่าง
- สมดุล
- การปรับตัว
 
เด็กจะเกิดคำว่า Why เมื่อเราให้คำตอบเด็ก ก็จะกลายเป็นคำว่า อ๋อ  เด็กได้รู้เมื่อมีการเรียนรู้อีกครั้งก็จะเป็นคำว่า อืม 
ต่อมาเป็นการทดลอง สิ่งสำคัญในการทดลอง คือ ครูควรระมัดระวังในการทดลองอาจจะมีอุปกรณที่ใช้เป็นอันตรายกับเด็กได้

วันพุธที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 9

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ครูผู้สอน อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วันที่ 21 ตุลาคม 2557 ครั้งที่7กลุ่ม 103
เวลาเรียน   8:30 - 12.20 น.

กิจกรรมวันนี้
อาจารย์ให้นักศึกษาออกมานำเสนอผลวิทยศาสตร์ของตัวเอง
ผลงานวิทยาศาสตร์ของดิฉันชื่อว่า คอปเตอร์ไม้ไผ่

 
                                                                           อุปกรณ์






            วิธีทำ

1.ตัดปลายหลอดชาไข่มุกประมาณ 2 เซนติเมตร
2.นำไม้ลูกชิ้นเสียบไปตรงกลางของไม้ไอติม เราอาจจะใช้ตะปูตอกเข้าไปก่อน
3.นำไหมพรมผูกไม้ลูกชิ้นแล้วมามาผูกกับปลายหลอดไข่มุกที่เราตัดไป
4.เจาะรูหลอดชาไข่มุกส่วนบน2รูเพื่อเราจะยัดไหมพรมเข้าไปในรู
5.นำไม้ลูกชิ้นที่เราเสียบกับไม้ติมมาใส่ในหลอดจากนั้นค่อยๆพันไหมพรมไปในทางเดียวกัน
6. ดึงส่วนหลอดไข่มุกที่เราตัดไม้ติดก็จะหมุน

เพิ่มเติม
อาจารย์ให้นำมาแก้ไขว่ามันสามารถทำได้ดีกว่านี้ให้ไปแก้ไขตรงพอที่เราดึงแล้วต้องทำให้มันหมุนกลับได้ด้วย

คอปเตอร์ไม้ไอติม
 เราต้องใช้แรงในการดึงเพื่อให้ไม้ไอติมหมุน
 แรงนั้น หมายถึง สิ่งที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่หรือเปลี่ยนตำแหน่งได้ เช่นทำให้วัตถุอยู่นิ่งเคลื่อนที่ไปหรือทำให้วัตถุเคลื่อนที่อยุ่แล้วเร็วหรือช้าลง


เทคนิคการสอน
อาจารย์ให้เราไปแก้ไขเพื่อทำสิ่งที่ดีกว่าเพราะมันสามารถทำให้ดีกว่านี้ได้ทำให้มันดูน่าสนใจกว่านี้ อาจารย์ปล่อยให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นร่วมกันเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้แสงความคิดเห็นตลอด


ประเมินตัวเอง
แต่งกายเรียบร้อยตั้งใจฟังเพื่อนนำเสนอผลงาน 

ประเมินเพื่อน
เพื่อนนำเสนองานได้น่าสนใจมาก ทุกคนมีความตั้งใจในการฟังเพื่อนนำเสนอผลงาน

ประเมินอาจารย์
อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น มีการอธิบายเพิ่มเติมทำให้เข้าใจมากขึ้น










บันทึกอนุทินครั้งที่ 8

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ครูผู้สอน อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วันที่ กันยายน 2557 ครั้งที่7กลุ่ม 103
เวลาเรียน   8:30 - 12.20 น.


อยู่ในช่วงสอบ



วันจันทร์ที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 7

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ครูผู้สอน อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วันที่ กันยายน 2557 ครั้งที่7กลุ่ม 103
เวลาเรียน   8:30 - 12.20 น.


กิจกรรรมวันนี้
กิจกรรม ลูกยาง (Yang)

อุปกรณ์
1.กระดาษหน้าปก (Paper)
2.คลิปหนีบกระดาษ (Paperclip)
3กรรไกร (Scissors)


วิธีทำ (How to)
1.ตัดกระดาษรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้าแล้วนำกระดาษมาผับครึ่งแล้วใช้กรรไกรตัดตรงกลางชิดรอยพับเลือกตัดด้านใดด้นหนึ่ง
2.พับปลายกระดาษส่วนที่ไม่ได้ตัดภาพขึ้นไป1เซนติเมตร
3.นำคลิปกระดาษมาหนีบไว้ด้านที่ไม่ได้ตัดแล้วกางปีกกระดาษไปคนละด้าน




อาจารย์แบ่งให้แถวที่3 4 และ5 ตัดกระดาษตรงกลางไม่ต้องยาวมากแล้วแต่จะตัดตรงไหน
อาจารย์ให้แถว1-5 ออกมาเล่นที่ละแถว วิธีการเล่นให้แต่ละคนโยน ขว่าง หรือปา ก็ได้ลงาจากที่สูง
แถวที่1และ2 เมื่อขว่างลงมาจากที่สูงพบว่าลูกยาง (กระดาษ) จะหมุนเป็นวงกลมคล้ายๆลูกยางและตกลงสู่พื้น
แถวที่3 4 และ5 เมื่อโยนลงมากจากที่สูงพบว่าลูกยางกระดาษไม่หมุนเป็นวงกลมคล้ายลูกยางเท่าไหร่นักแต่ดิ่ลงสู่พื้นอย่างเร็วทันที

ที่ต่างกันเพราะแรงโน่มถ่วงและแรงต้านทางจึงมาประยุกต์เป็นเครื่องบิน ร่มชูชีพ การจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้โดยผ่านประสาทสัมผัสทั้ง5


กิจกรรมที่2




อุปกรณ์(Equipment)

1.แกนกระดาษทิสชู
2.ไหมพรม
3.กระดาษที่ตัดเป็นรูปวงกลม
4.กาว
5.กรรไกร
6.สี


วิธีทำ (How to)
นำแกนกระดาษทิสชูมาตัดแบ่งครึ่งแล้วเจาะรูสองรู ตัดกระดาษเป็นวงกลมแล้วตกแต่งจากนั้นนำไปติดกับแกนใช้เชือกร้อยแกนที่เจาะรูไว้โดยาจรย์จลองให้เราเล่นเองว่าเล่นอย่างไรได้บ้าง


การประเมินผล (Evaluation)
- การประเมินตนเอง
แต่งกายเรียบร้อยถูกระเบียบทำกิจกรรมอย่างสนุกสนาน
-การประเมินเพื่อน
การแต่งกายถูกระเบียบเรียบร้อย ไม่พูดคุยเสียงดังในระหว่างอาจารย์สอน เพื่อนทำกิจกรรมอย่างสนุกสนาน
การประเมินอาจารย์
-การแต่งกายเรียบร้อยน่ามอง อาจารย์จะมีเทคนิดใหม่ๆมาสอนเราตลอดทำให้น่าสนใจอยากรู้สนใจที่ทำกิจกรรมมากขึ้นและอจารย์จะอธิบายบทความซักถามเราในเรื่องบทความทำให้เราเข้าใจมากขึ้น


วันเสาร์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 6

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ครูผู้สอน อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วันที่23 กันยายน 2557 ครั้งที่1 กลุ่ม 103
เวลาเรียน   8:30 - 12.20 น.

กิจกรรมวันนี้

อาจารย์ถามว่า "Constructivism"หมายถึงอะไร
 หมายถึงเป็นการเรียนรู้ด้วยตนเองได้ลงมือกระทำเอง เป็นวิธีการเรียนรู้มีเครื่องมือคือประสาทสัมผัสทั้ง5

กิจกรรมในห้องเรียน
อาจารย์ให้นักศึกษาทำกิจกรรมโโยแจกกระดาษให้นักศึกษา พับกระดาษแบ่งครึ่งและวาดภาพสัมพันธ์กันลงไป

เทคนิคการสอนของอาจารย์
การสอนโดยใช้คำแปลคำถามปลายเปิดถามตอบกับเด็กโดยตั้งคำถามให้เด็กให้เด็กได้คิดอยู่เสมอเพื่อกระตุ้นทักษะการคิดเพื่อการแก้ไปัญหา หาคำตอบ



นอกจากนี้ยังมีทฤษฎีที่อาจารย์ให้หาเป็นการบ้านดังนี้
1.เฟรดเดริค (FriedrichFroebel) "บิดาของการอนุบาลศึกษา" ฟรอเบลเป็นบุคคลคนแรกที่ได้ออกแบบหลักสูตรสำเด็กปฐมวัยเฉพาะหลักสูตรของฟอลเบลนั้นเน้นความสัมคัญของการเล่นและการพัฒนาศักลยภาพของตนเองฟรอเบลมีความเชื่อว่าเด็กเล็กๆเกิดมาพร้อมความรู้กับทักษะที่สะสมอยู่ในภายในหน้าที่สำคัญของครูคือการพยายามดึงความสามารถที่มีอยู่ภายในของเด็กออกมาและช่วยให้เด็กตระหนักถึงความสามารถของตนเอง


2.โจฮันน์  ไฮน์ริค เปสตาลอซซี่  (Johann Heinrich Pestalozzi) เปสตาลอซซี่ เชื่อว่าการศึกษาธรรมชาติถือเป็นหลักสูตรการเรียนการสอนเปสสตาลอซซี่มุ่งเน้นความคิดของการจัดหลักสูตรแบบบูรณาการ  (integrated curriculum) ซึ่งสอดคล้องกับการพัฒนาเด็กอย่างเป็นองค์รวม


3.ฌอง ฌาค รุสโซ (Jean Jacques Rouseeau) เด็กเปรียบเสมือนผ้าขาวการให้การศึกษาเด็ฏต้องให้ความเข้าใจกับธรรมาชาติเด็กก่อน


4.จอนห์น ดิวอี้ (John Dewey) เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ตัดสินใจด้วยตนเองผู้สอนมีหน้าที่ช่วยเหลือให้คำปรึกษา



การประเมิน (Evaluation)

การประเมินตนเอง
- การแต่งกายเรียบร้อยถูกระเบียบ เข้าห้องเรียนตรงต่อเวลา
การประเมินเพื่อน
- เพื่อนเข้าห้องตรงเวลา ตั้งใจฟังอาจารย์อธิบายราวิชา
การประเมินอาจารย์
- อาจารย์มีการใช้คำถามกับนักศึกษาตลอดทำให้นักศึกษาได้คิดอยู่ตลอดเวลาอาจารย์เตรียมเนื้อหามาสอนเป็นอย่างดีจัดกิจกรมให้นักศึกษาได้ทำอย่างสนุกสนาน