วันพุธที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 14

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ครูผู้สอน อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วันที่ 28 พฤศจิกายน 2557 ครั้งที่7กลุ่ม 103
เวลาเรียน   8:30 - 12.20 น.



 สัปดาห์นี้อาจารย์ได้ให้นักศึกษานำเสนอสื่อวิทยาศาสตร์ของ
ตัวเองหน้าชั้นเรียนเพื่อแยกหมวดหมู่ว่าสื่อของเราอยู่หมวดหมู่ไหนมีทั้งหมด 
4หมวดหมู่คือ หมวดหมู่เสียง หมวดหมู่พลังงาน หมวดหมู่น้ำ หมวดหมู่อากาศ

และทำกิจกรรมน้ำหวานแช่น้ำแข็ง


อุปกรณ์
1.น้ำหวาน
2.น้ำ
3.เกลือ
4.ถุงและหนังยาง
5.หม้อ
6.ช้อนตักน้ำหวาน
7.น้ำแข็ง


ขั้นตอนการทำ
                   1.เทน้ำเปล่าและน้ำแดงผสมกันในภาชนะเทให้ได้ปริมาณที่เท่ากัน


2.นำน้ำหวานที่ผสมกันแล้วตักใส่ถุงให้พอประมาน
แล้วมัดหนังยางที่ปากถุงให้แน่น







3.นำน้ำหวานมาใส่ภาชนะแล้วนำเกล็ดน้ำแข็ง
มาใส่ทับแล้วโรยด้วยเกลือปิดฝาหม้อ





4.เขย่าภาชนะไปมาจนกว่าถุงน้ำแดงจะเปลี่ยน
สถานะจากของเหลวกลายเป็นของแข็ง







การแข็งตัว (Fleezing)คือการน้ำเปลี่ยนสถานะของแข็งเป็นของเหลวซึ่งน้ำจำเป็นต้องถ่ายเทพลังงานภายในออกมาในณูปแฝงความร้อน 80 แครอรี่/กรัม เพื่อลดแรงสั้นสั่นสะเทือนของโมเลกุลเพื่อให้พนธะไฮโดเจนสามารถยึดเหนี่ยวโมเลกุลให้จับตัวกันเป็นโครงสร้างผนึก


กระบวนการเปลี่ยนแปลงสาถนะของสารจากของเหลวกลายเป็นของแข็ง มักเกิดเมื่อของเหลวนั้นสูญเสียหรือเสียพลังงาน ได้แก่ น้ำ เปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง โดนของแข็งนั้น สามารถเปลี่ยนสถานะเป้นของเหลวได้โดยการได้รับพลังงานหรือความร้อน


การนำไปประยุกต์ใช้
1.สามรถนำกิจกรรมที่จัดไปใช้กับจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์สำหรับเด็ฏปฐมวัยได้
2.สามารถนำทักษะการพูดหน้าชั้นเรียนไปใช้ในการนำเสนอรายวิชาอื่นได้
3.สามารถนำทักษะการเป็นผู้ฟังที่ดีในขณะที่มีคนพูด และจดบันทึกจากความสิ่งที่ได้รับฟังเพื่อให้ตนเองเข้าใจ
4.สามารถนำไปจัดกิจจกรมมวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยและนำไปดัดแปลงในรายวิชาอื่นได้




ประเมินตนเอง
- เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายถูกระเบียบ
- ตั้งใจฟังและจดบันทึกในขณะที่เพื่อนออกมานำเสนอ

ประเมินเพื่อน
- เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายถูกระเบียบ
- เพื่อนที่นำเสนอสามารถออกมานำเสนอได้อย่างเข้าใจ สรุปใจความดี
- มีการแสดงความคิดเห็น และตอบคำถามอาจารย์ได้เป็นอย่างดี


ประเมินอาจารย์
- เข้าสอนตรงเวลา แต่กายเรียบร้อย
- อาจารย์จับใจความสำคัญที่นักษาศึกษามออกมานำเสนอได้เป็นอย่างดี
- ในแต่ละครั้งที่เรียน อาจารย์พยายามที่จะอธิบายให้นักศึกษาเข้าใจโดยจะมาการเปิดโอกาสให้ถามตบอดว่าไม่เข้าใจตรงไหน
- อาจารย์ให้คำแนะนำ และจะสรุปให้ทุกครั้งที่ทำกิจกรรม




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น