วันเสาร์ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 13

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ครูผู้สอน อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วันที่ 19 พฤศจิกายน 2557 ครั้งที่7กลุ่ม 103
เวลาเรียน   8:30 - 12.20 น.

กิจกรรมวันนี้
วันนี้อาจารย์เตรีนมอุปกรณ์มาให้ทำขนม Waffle โดยให้นักศึกแบ่งกลุ่มโดยอธิบาขั้นตอนการทำ


อุปกรณ์
1. แป้งสำเร็จรูป
2. ไข่ไก่
3. นมสด
4. เนย
5. น้ำร้อน 
6. แปรงทามาร์การีน
7. ที่ตีแป้ง
8. กระบวยตัก 
9. ภาชนะ
10. เต่าทำขนม Waffle

ขั้นตอนการทำ

1. เทนมครึ่งแก้ว
2. เทนมที่เตรียมใว้ใส่แป้ง
3. ตีนมกับแป้งให้เข้ากัน พอเข้ากันแล้วตีไข่ใส่ลงไป
4. ผสมน้ำเล็กน้อยไม่ให้เหลวเกินไป
5. ใส่เนยที่ตัดเอาไว้
6. เมื่อใส่ส่วนผสมทุกอย่างแล้วก็ตีให้เข้ากันจากนั้นเทใส่ถ้วยที่เตรียมไว้
7. นำมาการ์รีนทาในเครื่องทำ Waffle
8. เมื่อเต่าร้อนก็เทแป้งลงไป
9. รอ 3-4 นาที







เพื่อนนำเสนอแผน  หน่วยดิน

เพลง ดิน
ดิน ดิน ดิน 
ดินมีหลายชิด
ดินร่วน ดินเหนียว ดินทราย    (ซ้ำ)
เด็กลองทายดูซิมีดินอะไร





ประเมินตนเอง
- จากกิจกรรมวันนี้ได้ลงมือทำได้ฝึกคิดสิ่งที่จะได้นำไปสอนเด็กและการวางแผนก่อนทำกิจกรรม Cooking

ประเมินเพื่อน
- เพื่อนทำกิจกรรมอย่างสนุก เพื่อนทุกคนต่างมีความเห็นว่าอยากทำอาหารบ่อยๆ เพราะได้รู้วิธีถึงการำอาหารหลายชนิด

ประเมินอาจารย์
- อาจารย์ชี้แนะและอธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่ควรและไม่ครไปใช้กับเด็ก และข้อควรระวังที่ต้องปรับปรุงแก้ไขในการทำกิจกรรมครั้งนี้



วันอาทิตย์ที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 12

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ครูผู้สอน อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วันที่ 11 พฤศจิกายน 2557 ครั้งที่7กลุ่ม 103
เวลาเรียน   8:30 - 12.20 น.


กิจกรรมวันนี้
 อาจารย์ให้นักศึกษาออกไปนำเสนอแผน มีกลุ่มที่ออกไปนำเสนอการสอนในหน่วยต่างๆ หน่วยสับประรด หน่วยส้ม หน่วยทุเรียน หน่วยมดแดง โดยแต่ละกลุ่มมีเทคนิคการสอนแตกต่างกันไป


1. หน่วยสับประรด




2. หน่วยส้ม





3. หน่วยทุเรียน





4.หน่วยมดแดง





หลังจากเพื่อนนำเสนอแผนของตัวเองเสร็จ ต่อไปเป็นกิจกรรมที่2  เป็นกิจกรรมทำไข่หลุม



กิจกรรม ทำไข่หลุม



อุปกรณ์ทำไข่หลุม

1.ไข่ไก่
2. น้ำปลา  ซอสแม็กกี้
3. ผักหัวหอม
4. แครรอท
5. ปูอัด
6. กระดาษ
7. มีด
8. กรรไกร
9. ข้าว
10. ถ้วย
11. ช้อน
12. ซ้อม
13. กระทะทำไข่หลุม


วิธีการทำไข่หลุม

1.ให้ทุกคนตีไข่ให้แตก1ลูกแล้วตีให้แตกคล้ายไข่เจียว
2.ใส่ผัก ปูอัด แครรอท หัวหอม ข้าว
3.ใช้ซ้อมตีให้เข้ากัน
4.นำไข่ไปใส่หลุมกระทะร้อน
5.รอเวลาพลิกไข่ ไข่จะสุกครึ่งนึง
6.เมื่อพลิกจนสุกนำไข่ใส่ถ้วยที่มีกระดาษรอง
7.รับประทาน







วันเสาร์ที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 11

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ครูผู้สอน อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วันที่ 4 พฤศจิกายน 2557 ครั้งที่7กลุ่ม 103
เวลาเรียน   8:30 - 12.20 น.

กิจกรรมในวันนี้
อาจารย์อธิบายเกี่ยวกับแผนต่อเนื่องจากครั้งที่แล้วแล้วให้จัดเรียงแผนตามหัวข้อดังต่อไปนี้

1.กรอบมาตารฐาน
2.สาระที่ควรเรียนรู้
3.แนวคิด
4.เนื้อหา
5.ประสบการณ์สำคัญ
6.บูรณาการ
7.กิจกรรมหลัก
8.จุดประสงค์

เพื่อนนำเสนอแผน


กลุ่มที่ 1 หน่วยข้าว





กลุ่มที่ 2 หน่วยไข่






กลุ่มที่3 หน่วยกล้วย




กลุ่มที่4 หน่วยกบ




การไปประยุกต์ใช้
1. สามารถสอนได้ตรงตามแผนอย่างถูกต้อง
2.สามารถจัดประสบการร์แต่ละหน่วยอย่างถูกต้อง
3.สามารถจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ได้อย่างหลากหลายและสามรถบูรณาการใรเรื่องต่างๆ
4.สามารถนำการเขียนแผนไปใช้ในการเรียนวิชาอื่นๆได้


ประเมินการเรียนการสอน

ประเมินตนเอง
- เข้าเรียนสาย10นาที แต่งตัวเรียบร้อยตั้งเรียนทำกิจกรรมกับเพื่อนเป็นอย่างดีเตรียมพร้อมกับสิ่งที่ตัวเองต้องออกมาสอนเป็นอย่างดีคือหน่วยกล้วย

ประเมินเพื่อน
- เพื่อนแต่งตัวเรียบร้อยทุกคนเตรียมพร้อมแลัะตื่นเต้นกับการที่ออกมานำเสนอและทำกิจกรรมห้าห้องมากเพื่อนทุกคนร่วมมือกันเป็นอย่างดี

ประเมินอาจารย์
- เข้าสอนตรงเวลา มีเทคนิคการสอนแต่ละอาทิตแตกต่างกันดูน่าสนใจมีคำถามทุกครั้งคพถามที่อาจารย์จะใช้คือคำถามปลายเปิดเพื่อให้นักศึกษาได้คิดได้ตอบได้มีส่วนร่วมและทุกๆครั้งที่ทำกิจกรรมเสร็จอาจารย์ก็จะมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติมทำให้เราได้รู้จักปรับปรุงแก้ไข





วันเสาร์ที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 10

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ครูผู้สอน อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วันที่ 28 ตุลาคม 2557 ครั้งที่7กลุ่ม 103
เวลาเรียน   8:30 - 12.20 น.

กิจกรรมวันนี้
วันนี้อาจารย์มีอุปกรณ์มาเยอะมากเพื่อมาให้นักศึกษาในห้องทพการทดลอง อาจารย์ใช้คำถามว่า สิ่งที่ควรเรียรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
1.กระบวนการเรียนรู้ทางวิทาศาสตร์
2.แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
- เปลี่ยนแปลง
- แตกต่าง
- สมดุล
- การปรับตัว
 
เด็กจะเกิดคำว่า Why เมื่อเราให้คำตอบเด็ก ก็จะกลายเป็นคำว่า อ๋อ  เด็กได้รู้เมื่อมีการเรียนรู้อีกครั้งก็จะเป็นคำว่า อืม 
ต่อมาเป็นการทดลอง สิ่งสำคัญในการทดลอง คือ ครูควรระมัดระวังในการทดลองอาจจะมีอุปกรณที่ใช้เป็นอันตรายกับเด็กได้