วันเสาร์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 6

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ครูผู้สอน อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วันที่23 กันยายน 2557 ครั้งที่1 กลุ่ม 103
เวลาเรียน   8:30 - 12.20 น.

กิจกรรมวันนี้

อาจารย์ถามว่า "Constructivism"หมายถึงอะไร
 หมายถึงเป็นการเรียนรู้ด้วยตนเองได้ลงมือกระทำเอง เป็นวิธีการเรียนรู้มีเครื่องมือคือประสาทสัมผัสทั้ง5

กิจกรรมในห้องเรียน
อาจารย์ให้นักศึกษาทำกิจกรรมโโยแจกกระดาษให้นักศึกษา พับกระดาษแบ่งครึ่งและวาดภาพสัมพันธ์กันลงไป

เทคนิคการสอนของอาจารย์
การสอนโดยใช้คำแปลคำถามปลายเปิดถามตอบกับเด็กโดยตั้งคำถามให้เด็กให้เด็กได้คิดอยู่เสมอเพื่อกระตุ้นทักษะการคิดเพื่อการแก้ไปัญหา หาคำตอบ



นอกจากนี้ยังมีทฤษฎีที่อาจารย์ให้หาเป็นการบ้านดังนี้
1.เฟรดเดริค (FriedrichFroebel) "บิดาของการอนุบาลศึกษา" ฟรอเบลเป็นบุคคลคนแรกที่ได้ออกแบบหลักสูตรสำเด็กปฐมวัยเฉพาะหลักสูตรของฟอลเบลนั้นเน้นความสัมคัญของการเล่นและการพัฒนาศักลยภาพของตนเองฟรอเบลมีความเชื่อว่าเด็กเล็กๆเกิดมาพร้อมความรู้กับทักษะที่สะสมอยู่ในภายในหน้าที่สำคัญของครูคือการพยายามดึงความสามารถที่มีอยู่ภายในของเด็กออกมาและช่วยให้เด็กตระหนักถึงความสามารถของตนเอง


2.โจฮันน์  ไฮน์ริค เปสตาลอซซี่  (Johann Heinrich Pestalozzi) เปสตาลอซซี่ เชื่อว่าการศึกษาธรรมชาติถือเป็นหลักสูตรการเรียนการสอนเปสสตาลอซซี่มุ่งเน้นความคิดของการจัดหลักสูตรแบบบูรณาการ  (integrated curriculum) ซึ่งสอดคล้องกับการพัฒนาเด็กอย่างเป็นองค์รวม


3.ฌอง ฌาค รุสโซ (Jean Jacques Rouseeau) เด็กเปรียบเสมือนผ้าขาวการให้การศึกษาเด็ฏต้องให้ความเข้าใจกับธรรมาชาติเด็กก่อน


4.จอนห์น ดิวอี้ (John Dewey) เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ตัดสินใจด้วยตนเองผู้สอนมีหน้าที่ช่วยเหลือให้คำปรึกษา



การประเมิน (Evaluation)

การประเมินตนเอง
- การแต่งกายเรียบร้อยถูกระเบียบ เข้าห้องเรียนตรงต่อเวลา
การประเมินเพื่อน
- เพื่อนเข้าห้องตรงเวลา ตั้งใจฟังอาจารย์อธิบายราวิชา
การประเมินอาจารย์
- อาจารย์มีการใช้คำถามกับนักศึกษาตลอดทำให้นักศึกษาได้คิดอยู่ตลอดเวลาอาจารย์เตรียมเนื้อหามาสอนเป็นอย่างดีจัดกิจกรมให้นักศึกษาได้ทำอย่างสนุกสนาน







วันจันทร์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 5

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ครูผู้สอน อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วันที่16 กันยายน 2557 ครั้งที่1 กลุ่ม 103
เวลาเรียน 8:30 - 12.20 น.


แสงเดินทางเป็นเส้นตรง มีวัถตุบางชนิดที่แสงเดินผ่านทะลุไปได้แสงมี3แบบ
แบบที่1 วัตถุโปร่งแสง(translucent) แสงจะทะลุผ่านไปได้แค่บางส่วนเราจึงมองเห็นสิ่งต่างๆที่อยู่ข้างหลังวัถตุโปร่งแสงไม่ชัดเจน เช่น กระจกฝ่า พลาสติดขุ่นๆ
แบบที่2 วัตถุโปร่งใส (transparent) แสงทะลุผ่านได้ทั้งหมดเราจึงมองเห้นสิ่งต่างๆที่อยู่ข้างหลังได้ชัดเจน เช่น กระจกใส พลาสติกใส
แบบที3วัตถุทับแสง จะดูดกลืนแสงที่เหลือไว้และจะสะท้อนแสงที่เหลือเข้าสู่ตาเรา เช่น ไม้ หิน เหล็ก หรือตัวเรา



เครื่องฉายภาพนิ่ง กล้องรูเข็ม(Pinhole) การที่เห็นภาพกลับหัวก็เพราะแสงส่วนบนของภาพวิ่งเป็นเส้นตรงผ่านรูเล็กๆมาตกกระทบด้านล่างของกระดาษไข(stencil paper)และส่วนล่างของภาพวิ่งผ่านตรงรูเล็กๆมาตกกระทบที่ด้านบนของกระดาษภาพที่เห็นจึงเป็นภาพกลับหัว(invert)ถามีรูที่กล่องหลายๆรูก็จะเห็นภาพหลายภาพ

กล้องคาไลโดสโคป(Kaleidoscope) นำกระจกเงา3บานมาประกลบกันให้เป็นทรงกระบอกสามเหลี่ยมและเมื่อเราส่องก็จะเห็นภาพหลายๆภาพสะท้อนออกมามีการสอนสะท้อนแสงและมุมลบของกระจกเมื่อแสงเมื่อแสงตกกระทบในกระบอกสามเหลี่ยมมาก็สะท้อนมาในนั้นจึงเกิดภาพมากมาย 

หลักการสะท้อนแสงมาใช้ประโยชน์ใช้ในการหาวัถตุที่ไม่สามารถมองเห็นในที่สูงๆได้เราเรียกกล้องส่องภาพระดับสายตาหรือกล้องเพอริโคป โดยเราจะมองเห็นเพราะแสงจากวัตถุจะผ่านมาทางช่องบนที่เราเจาะไว้มากระทบบนกระจกแผ่นเงาบนแล้วสะท้อนแผ่นเงากระจกล่างมาสู่ตาเรา
การหักเหของแสงจะเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่การหักเหทำให้เห็นภาพที่หลอกตาแต่การหักเหมีประโยชน์ทำเลนLensแผ่นแก้วหรือแผ่นกระจกที่ถูกทำให้แผ่นน่านูนออกมาเพื่อใช้ประโยชน์ในการขยายภาพและยังใช้ร่วมเส้นทางเดินของแสงได้และยังจุดไฟ

การหักเหของแสงนอกจากจะช่วยให้เรามองเห็นได้ชัดเจนแล้วยังทำให้มองเห็นวิวและแสงสีสวยๆเช่นเวลาเราเห็นน้ำกิรรุ้งบนท้องฟ้า รุ้งกินน้ำเกิดจากการหักเหของแสงเหมือนกันแสงที่เราเห็นสีขาๆนั้นประกอบด้วย7สี  ม่วง คราม น้ำเงิน เขียว เหลือง แสด แดง เมื่อสีทั้ง7เมื่อรวมกันจะกลายเป็นสีขาวเวลาฝนตกใหม่ๆจะมีละอองน้ำในอากาศและเมื่อแสงผ่านละอองน้ำเหล่านั้นก็จะเกิดการหักเหของแสงเราเรียกว่าแถบสเปกตรัม(spectrum)หรือรุ้งกินน้ำRainbow





เราสสามารถสร้างรุ้งกินน้ำได้เองโดยการหนหลังตรงข้ามกับพระอาทิตย์และฉีดน้ำเป็นละอองในน้ำอากาศจะเกิดในเวลาฝนตกใหม่ๆและจะเกิดารหักเหของแสงผ่านน้ำอากาศซึ่งคล้ายๆกับการทดลองวัตถุแต่ละชนิดก็จะมีความสามารถในการสะท้อนแสงและดูดกลืนแสงสีได้แตกต่างกัน


เงากับแสงคู่กันเสมอเงาเป็นสิ่งที่ตรงข้ามกับแสงและเงาก็เกิดขึ้นได้เพราะแสง เช่นการส่องไฟไปยังวัตถุที่เตรียมไว้ก็จะเกิดเงาดำๆขึ้นบนพื้นผั่งตรงข้ามที่ส่องไฟและลองส่องไฟสวนทางกับกระบอกแรกก็จะเกิดเงาจางๆทั้งองด้าน





วันจันทร์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 4

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ครูผู้สอน อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วันที่9 กันยายน 2557 ครั้งที่1 กลุ่ม 103
เวลาเรียน 8:30 - 12.20 น.

กิจกรรมวันนี้
เพื่อนนำเสนอบทความ
1.บทความเรื่อง สนุกคิดกับของเล่นวิทยาศาสตร์
2.บทความเรื่อง ทำยัไงให้ลูกสนใจวิทยศาสตร์
3.บทความเรื่อง วิทย์คณิตสำคัญยังไงกับประเทศชาติ
4.บทความเรื่อง เมื่อลูกน้อยเรียนวิทย์คณิตผ่านเสียงดนตรี
5.บทความเรื่อง การจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย

ทักษะวิทยศาสตร์เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย
วิทยศาสตร์หมายถึงการศึกษษสืบค้นและจัดระบบความจริงเกี่ยวกับธรรมชาติโดยอาศัยกระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ประกอบด้วยวิธีการทักษะกระบวนการและเจคติทางวิทยาศาสตร์อย่างมีระบบแผนมีขอบเขตโดยการอาศัยการสังเกตการทดลองเพื่อค้นหาความเป็นจริงและทำให้ได้มาซึ่งความรู้ทางวิทยศาสตร์ที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป

แนวคิดพื้นฐานทางวิทยศาสตร์
1.การเปลี่ยนแปลง (Change)
-เปลี่ยนแปลงไปตามอายุ ตามเวลา สภาพอากาศ
2.ความแตกต่าง (Difference)
-สิ่งแตกต่างในโลกมีทั้งเหมือนและแตกต่างกัน
3.การปรับตัว (Adapting)
-สภาพอากาศ สภาพแวดล้อม
4.การพึ่งพาอาศัยกัน (Dependence)
-ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
5.ความสมุล (Equilibrium)
-จะทำให้ทุกสิ่งทุกอย่างเท่าเทียมกัน อยู่ด้วยกันได้อย่างมีความสุข

การศึกษาการทางวิทยาศาสตร์
1.ขั้นกำหนดปัญหา
-ระบุปัญหา
-สิงที่ต้องการศึกษา
2.ขั้นตั้งสมมติฐาน
-การคาดเดาคำตอบ
3.ขั้นรวบรวมข้อมูล
-การทดลอง(Experiment)
-การสังเกต
4.ขั้นลงข้อมูล
-คำตอบของปัญหา

เจตคติทางวิทยศาสตร์
1.ความอยากรู้อยากเห็น เป็นคุณลักษณะที่พร้อมาจากการพัฒนาการ
2.ความเพียรพยายาม
3.ความมีเหตุผล
4.ความซื่อสัตย์
5.ความมีระเบียบและรอบคอบ
6.ความใจกว้าง (Broad - mindedness)

ความสำคัญและประโยชน์ของวิทยศาสตร์
ความสำคัญของวิทยศาสตร์
-ตอบสนองความต้องการของเด็ก
-พัฒนากระบวนการทางวิทยศาสตร์
-เสริมสร้างประสบการณ์
ประโยชน์ของวิทยาศาสตร์
-พัฒนาความคิดรวมยอด
-พัฒนาทักษะแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
-สร้างความเชื่อมั่นให้ตนเอง

การนำไปประยุกต์ใช้
นำความรู้ที่ได้เรื่องทักษะวิทยาศาสตร์ไปใช้ในการพัฒนาเด็กปฐมวัยและนำความรู้ที่ได้ไปต่อยอดในรายวิชานี้ต่อไป

การประเมินตนเอง
ตั้งใจฟังเพื่อนนำเสนอบทความดี วันนี้แต่กายเรียนร้อย
การประเมินเพื่อน
แต่งกายเรียบร้อยทุกคนต้ังใจฟังเพื่อนนำเสนอบทความ
ประเมินอาจารย์
อาจารย์เข้าสอนเร็วและมีการเตรียมการสอนมาเป็นอย่างดี เข้าใจง่าย แต่งกายเรียบร้อยเหมาะสม













วันอาทิตย์ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 3

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ครูผู้สอน อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วันที่2 กันยายน 2557 ครั้งที่1 กลุ่ม 103
เวลาเรียน 8:30 - 12.20 น.

กิจกรรมวันนี้
อาจารย์เปิดบล้อคให้ดู และให้คำแนะนำการทำบล้อคและรู้จกใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์

อาจารย์ได้อธิบายคุณลักษณะตามวัยของเด็ก3-5ปีที่กำหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ.2546



ธรรมชาติของเด็กปฐมวัย


การนำไปประยุกต์ใช้
-นำทฤษฎีแต่ละทฤษฎีที่ได้ใช้ไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็กเพื่อให้การพัฒนามีประสิทธิภาพต่อการ-พัฒนาของเด็ก

         ประเมินตนเอง
         -แต่กายเรียบร้อย 
         -ตั้งใจฟังอาจารย์ให้ความรู้
         -จดบันทึกเพิ่มเติม
        ประเมินเพื่อน
         -วันนี้เพื่อนๆทุกคนแต่งกายเรียบร้อยถูกระเบียบ
        ประเมินอาจารย์
         -อาจารย์สอนโดยยกตัวอย่างให้เห็นอย่างชัดเจน
         -อาจารย์แต่งกายได้สุภาพเรียบร้อย สวยงาม








บันทึกอนุทินครั้งที่ 2

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ครูผู้สอน อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วันที่26 สิงหาคม 2557 ครั้งที่1 กลุ่ม 103
เวลาเรียน 8:30 - 12.20 น.


                                                                               กิจกรรมวันนี้
           เมื่อเราพูดถึงเด็กปฐมวัยนึกถึงอะไร ?
           1.การเล่น
           2.ขี้สงสัย
           3.ประสบการณ์
           4.การอบรมเลี้ยงดู
           5.ความสนุกสนาน
           6.การเจริญเติบโต
           7.การเรียนรู้
           8.การมีปฎิสัมพันธ์กับเพื่อน

พัฒนาการคือการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางด้านร่างกาย อามรณ์ สังคม สติปัญญา ภาษา แบ่งได้ดังนี้
        1.ความคิด
      1.1 เชิงเหตุผล
       -คณิศาสตร์
       -วิทยาศาสตร์
     1.2เชิงสร้างสรรค์
        2.การใช้ภาษา

การเปลี่ยนแปลงพฤติกกรม+ผู้ที่ผ่านเรียนรู้มาแล้ว เพื่อเอาตัวรอดได้
     ด้านสติปัญญา  เพียเจย์+บรูเนอร์
     ด้านอารมณ์ ฟรอยด์+ออซุเบล
     ด้านสังคม  อิริสัน
     ด้านร่างกาย  กีเซล

การนำประยุกต์ใช้
สามารถขำวิธีสอนของอาจารย์ไปปรับใช้ในการจัดประสบการณ์ให้เด็กได้โดยการบรรยายและการใช้คำถามกระตุ้นให้เกิดการคิดและการเรียนรู้

ประเมินตนเอง
-แต่งกายเรียบร้อย
-ตั้งใจฟังอาจรย์อธิายแนวการสอน
ประเมินเพื่อน
-เพื่อนตั้งใจฟังอาจารย์อธิบายแนวการสอนเป็นอย่างดี
-มีซักถามโต้ตอบอาจรย์
ประเมินอาจารย์
-แต่งกายสวยงามเหมาะสม
-น่าตาสดชื่น
-อาจรย์อธิบายการสอนอย่างละเอียดโดยน.ศเข้าใจง่าย






วันศุกร์ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 1

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ครูผู้สอน อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วันที่19 สิงหาคม 2557 ครั้งที่1 กลุ่ม 103
เวลาเรียน 8:30 - 12.20 น.


การเรียนในวันนี้                                                                                                         
           วันนี้เป็นการเปิดเรียนวันแรกของภาคเรียนที่1 อาจารย์ได้แจกแนวการสอน( Course Syllabus ) และอธิบายการเรียนการสอนของวิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย  พร้อมทั้งบอกข้อตกลงในชั้นเรียน ดังนี้

         - แต่งกายเรียบร้อยถูกต้องตามระเบียบ แต่งตัวไปในทางเดียวกัน
         - ไม่เข้าห้องเรียนสาย
         - พูดจาไพเราะ สุภาพอ่อนหวาน



การนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้                                                                                                    
          การเข้าเรียนในวันนี้ ยังไม่ได้เรียนเนื้อหาแต่อาจารย์ได้ชี้แนวการสอนและเรื่องที่เราจะต้องเรียน จึงทำให้เราสามารถไปค้นคว้าหาข้อมูลไว้ล่วงหน้าได้พอเวลาที่เราเรียนเราสามารถตอบคำถามอาจารย์ได้ในเรื่องนั้นๆ 


    
     ประเมินตนเอง
     แต่งตัวเรียบร้อย 
     อธิบายการเรียนรู้จากการเรียนการสอนได้
     ประเมินผู้สอน
     ผู้สอนอธิบายเนื้อการสาระการเรียนรู้ได้อย่างเข้าใจ
     ผู้สอนมีการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีส่วนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียน 
     ผู้สอนมีเทคนิคในการสอนให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างรวดเร็ว
     ประเมินเพื่อน
     เพื่อนๆมีมารยาทในการฟังที่ดี
     เพื่อนๆสามารถอธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับการเรียนการสอนได้ดีจากการซักถาม
     มีความเข้าในเนื้อหาสาระ  และมารยาทในการเข้าชั้นเรียน